ผลการดำเนินงาน 2566.

หมวดที่ 1 การกำหนดนโยบาย การวางแผนการดำเนินงานและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

1.1 การกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียว

1.1.1 ห้องสมุดกำหนดนโยบายการบริหารจัดการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีการทบทวนเป็นปัจจุบัน

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการกำหนดและขออนุมัติขอบเขตพื้นที่ ขอบเขตกิจกรรม และผู้รับผิดชอบ ตามบันทึกข้อความ ที่ พิเศษ/2566 ลงวันที่ 21 มกราคม 2566 เรื่อง ขออนุมัติกำหนดขอบเขตพื้นที่และขอบเขตกิจกรรม สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดทำแผนผังพื้นที่  อาคารบรรณราชนครินทร์  ตลอดจนพื้นที่สีเขียว และทางเดินหรือพื้นซีเมนต์โดยรอบอาคาร บนเนื้อที่ ทั้งสิ้น 12,658.1 ตารางเมตร  ดังปรากฎในแผนสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว ประจำปี พ.ศ. 2566 หน้า 1 ดังนี้

       1. พื้นที่อาคารบรรณราชนครินทร์ อยู่บนเนื้อที่จำนวน 12,106 ตารางเมตร มีพื้นที่ใช้สอยของอาคาร 6,384 ตารางเมตร

        2. มีพื้นที่โดยรอบ 6,274.1  ตารางเมตร โดยจำแนกเป็น

             2.1 พื้นที่สีเขียว/สวน จำนวน 5,722 ตารางเมตร

             2.2 ทางเดิน/พื้นซีเมนต์ จำนวน 552.1 ตารางเมตร

          และมีการกำหนดขอบเขตกิจกรรมของสำนักวิทยบริการฯ ทั้งหมด ประกอบด้วย

                   1) การปฏิบัติงานของบุคลากร ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้

                       – การพิมพ์เอกสาร

                       – การสำเนาเอกสาร

                       – การประชุม

                       – การทำสื่อประชาสัมพันธ์

                       – กิจกรรมที่มีการใช้ไฟฟ้า เกิดการลัดวงจร

                       – การจัดเตรียม/ซ่อมแซมทรัพยากรสารสนเทศ

                       – การทำความสะอาดพื้นที่สำนักงาน

                  2) การบริการและกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน  ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้

                      – การประชุม

                      – การทำสื่อประชาสัมพันธ์

                      – การทำความสะอาดพื้นที่สำนักงาน/พื้นที่บริการ

                      – การพิมพ์เอกสาร

                      – การสำเนาเอกสาร

                      – กิจกรรมที่มีการใช้ไฟฟ้า เกิดการลัดวงจร

                  3) การบริการสาธารณูปโภค  ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้

                      – การรับประทานอาหาร

                      – การประกอบอาหาร

                      – การทำความสะอาดภาชนะ

                      – การทำความสะอาดห้องน้ำ

                  4) การปฏิบัติงานนอกพื้นที่ ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้

                      – การเดินทางไปราชการ

1.1.2 ห้องสมุดมีนโยบายห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียวที่สอดคล้องและ

ครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ได้เข้าร่วมเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว (Green Library) ตั้งแต่ปี 2565 เพื่อมุ่งมั่นพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และให้บริการความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน และเพื่อให้สอดคล้องและครอบคลุมประเด็นตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว จึงได้กำหนดนโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ดังนี้

1. กำหนดนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมให้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายบริหารสำนักวิทยบริการฯ ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของมหาวิทยาลัยและสนับสนุน ส่งเสริมการปรับปรุงระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม

2. กำหนดคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบทำหน้าที่ดูแล ศึกษาปัญหา กำหนดแผนงาน มาตรการ ติดตามและตรวจสอบการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของสำนักวิทยบริการฯ

3. จัดการลักษณะทางกายภาพและโครงสร้างพื้นฐาน ส่งเสริมระบบ กลไก เพื่อการบริการและการบริหารจัดการห้องสมุดอย่างมีประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การใช้ทรัพยากรและพลังงาน การจัดการของเสีย การจัดการสภาพแวดล้อม ความปลอดภัย การจัดซื้อจัดจ้างและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากทุกกิจกรรม

4. จัดหาทรัพยากรสารสนเทศและการให้บริการด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมและสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรและผู้ใช้บริการมีความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

5. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารเพื่อสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาตนเองเพื่อการบริหารจัดการองค์กรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

7. ส่งเสริมความร่วมมือกับเครือข่ายระหว่างสำนักวิทยบริการฯ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และการจัดการและการจัดการความรู้ด้านบริหารจัดการการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

8. มีการติดตาม ตรวจสอบผลการดำเนินงานตามแผนอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี

9. กำหนดให้ตัวชี้วัดการดำเนินงานตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียวเป็นตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการรายบุคคล

1.1.3 ผู้บริหารระดับสูงของห้องสมุดเป็นผู้กำหนดนโยบายและมีส่วนในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานตามนโยบายห้องสมุดสีเขียว

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดประชุมเพื่อกำหนดนโยบายห้องสมุดสีเขียวโดยการมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับสูง และบุคลากรในการประชุมบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ

1.1.4 ห้องสมุดกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวที่ครอบคลุมทุกหมวดตามเกณฑ์การประเมินฯ และได้รับอนุมัติโดยผู้บริหารห้องสมุด

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดประชุมเพื่อการกำหนดแผนการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว ประจำปี 2567  ในการประชุมบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ ครั้งที่ 4/2566 วันที่ 29 กันยายน 2566

 

 

 

 

 

 

1.1.5 ห้องสมุดกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดเพื่อใช้ประกอบการติดตาม ประเมินผลการพัฒนาห้องสมุดสีเขียวให้เป็นไปตามที่กำหนด

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดประชุมเพื่อ มีการกำหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ชัดเจนด้านห้องสมุด (ตามเกณฑ์ห้องสมุดสีเขียว) และจัดทำประกาศสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยลัยราชภัฏกาญจนบุรี เรื่อง นโยบายการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ประกาศ ณ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2566

 

 

 

 

 

 

 

 

1.1.6 ห้องสมุดกำหนดให้งานห้องสมุดสีเขียว (ด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม) เป็นงานประจำของหน่วยงาน

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการมอบหมายให้บุคลากรของสำนักฯ รับผิดชอบตามแผนห้องสมุดสีเขียวโดยจัดทำเป็นคำสั่งมหาวิทยาลัย ที่ 2020/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (green office) และห้องสมุดสีเขียว (green library) ทั้งหมด 9 หมวด ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2566

1.1.7 ห้องสมุดมีการกำหนดนโยบายการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร หรือประเทศ หรือตามบริบทสากล

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการกำหนดนโยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนประกาศสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี เรื่อง มาตรการสำนักงานสีเขียว และห้องสมุดสีเขียว โดยมีการรณรงค์และการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น วิดีทัศน์ ป้าย เว็บไซต์ เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พลังงานให้แก่บุคลากรและนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี และบุคคลทั่วไป ประกาศ ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2566

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.2 คณะทำงานห้องสมุดสีเขียว

1.2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน หรือทีมงาน ที่ประกอบด้วย คณะกรรมการด้านห้องสมุดและและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการมอบหมายให้บุคลากรของสำนักฯ รับผิดชอบตามแผนห้องสมุดสีเขียวโดยจัดทำเป็นคำสั่งมหาวิทยาลัย ที่ 2020/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (green office) และห้องสมุดสีเขียว (green library) ทั้งหมด 9 หมวด ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2566

1.2.2 การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน หรือทีมงานห้องสมุดสีเขียวครอบคลุมทุกหมวดและประกอบด้วยบุคลากร/ผู้แทนจากทุกฝ่ายในหน่วยงาน

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการมอบหมายให้บุคลากรร่วมเป็นคณะกรรมการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวพร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานตามคำสั่งมหาวิทยาลัย ที่ 2020/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (green office) และห้องสมุดสีเขียว (green library)

1.3 การทบทวนฝ่ายบริหาร

1.3.1 ผู้บริหารเข้าร่วมประชุมและมีตัวแทนของฝ่าย/แผนก/ส่วนงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละหมวดเข้าร่วมประชุม

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดประชุมบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ ครั้งที่ 4/2566 วันที่ 29 กันยายน 2566 (คณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (green office) และห้องสมุดสีเขียว (green library))

1.3.2 ห้องสมุดมีกำหนดวาระการประชุมและมีการทบทวนจากฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการประชุมบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ ครั้งที่ 4/2566 วันที่ 29 กันยายน 2566 (คณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (green office) และห้องสมุดสีเขียว (green library)) โดยมีการกำหนดไว้ในระเบียบวาระที่ 6 อื่นๆ

1.4 การตรวจประเมินภายใน (สำหรับห้องสมุดต่ออายุ)

1.4.1 ห้องสมุดมีการวางแผนและดำเนินการตรวจประเมินภายในด้านห้องสมุด และด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (green office) และห้องสมุดสีเขียว (green library)  พร้อมทั้งจัดทำแผน สำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อเตรียมความพร้อมการตรวจประเมินภายในประจำปี พ.ศ. 2568

1.4.2 ผู้ตรวจประเมินภายในด้านห้องสมุดแต่ละหมวดมีความเพียงพอและเหมาะสม มีความเป็นอิสระในการตรวจประเมินชัดเจน

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (green office) และห้องสมุดสีเขียว (green library) ที่รับผิดชอบและติดตามรายงานผล

หมวด 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

2.1 การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

2.1.1 ห้องสมุดกำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม ประเมินผล และบันทึกประวัติการฝึกอบรม

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการกำหนดแผนการฝึกอบรมดำเนินการอบรม และประเมินผล ความพึงพอใจการเข้ารับการอบรม และรายงานสรุปผลความพึงพอใจต่อผู้บริหารเพื่อทราบผลการดำเนินงาน

2.1.2 ห้องสมุดกำหนดผู้รับผิดชอบในการอบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบการอบรม ในหมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึกตามคำสั่งคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการดำเนินงานสำนักงานสีเขียว (green office) และห้องสมุดสีเขียว (green library) 

2.2 การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

2.2.1 ห้องสมุดกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียวเป็นไปตามหัวข้อและเกณฑ์ฯ ที่กำหนด

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและแนวทางสื่อสารเรื่องห้องสมุดสีเขียว โดยมอบหมายให้นักประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่โสตทัศนศึกษา รวมถึงบุคลากรของสำนักฯ เป็นผู้รับผิดชอบในการการรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร นักศึกษา และบุคคลทั่วไป

2.2.2 ห้องสมุดสื่อสารและให้ความรู้ครอบคลุมเป็นไปตามหัวข้อและเกณฑ์ฯ ที่กำหนด

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการออกแบบป้ายประชาสัมพันธ์การรณรงค์ ทั้งบอร์ดประชาสัมพันธ์และสื่อออนไลน์ เช่น การลดใช้พลังงาน การประหยัดน้ำ เป็นต้น

 

 

2.2.3 บุคลากรมากกว่าร้อยละ 74 มีความเข้าใจนโยบายและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการประชาสัมพันธ์นโยบาย มาตรการและการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียวให้กับบุคลากรทราบพร้อมทั้งนำไปใช้เป็นแนวปฏิบัติ

2.2.4 ห้องสมุดมีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นด้านห้องสมุดสีเขียว และนำมาปรับปรุงแก้ไข

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการจัดทำช่องทางการรับฟังความคิดเห็นและข้อร้องเรียน เกี่ยวกับด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการให้บริการของสำนัก โดยกำหนดให้นางสาวรุ่งรวี ลาภมูล หัวหน้าศูนย์วิทยาบริการเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานพร้อมทั้งหาแนวทาง/ขั้นตอนในการแก้ไขการจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนพร้อมทั้งรายงานให้ผู้บริหารทราบ

หมวด 3 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศการให้บริการห้องสมุดสีเขียว

3.1 จัดการทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้เพียงพอและพร้อมใช้

3.1.1 ห้องสมุดมีการสำรวจความต้องการ จัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับนโยบายห้องสมุดสีเขียว

ü

 

    สำนักฯ มีระบบและกลไกในการดำเนินงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อม โดยมีการสำรวจความต้องการสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ด้านสิ่ง

แวดล้อมและนำผลการสำรวจความต้องการสิ่งสนับสนุนการ

เรียนรู้มาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อจัดสรรงบประมาณโครงการ

และระบุไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2566 เพื่อให้ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัยและมีความหลาก

หลายเหมาะสมกับผู้รับบริการและนำแผนปฏิบัติราชการเสนอต่อคณะกรรมการประจำ

สำนักฯ

     นอกจากยังได้มีการจัดหาสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากแหล่งต่างๆ มาให้บริการผ่านเว็บไซต์สำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว

ของสำนักฯ https://arit.kru.ac.th/greenoffice/

3.1.2 ทรัพยากรสารสนเทศด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อยปีละ 100 รายชื่อ มีความพร้อมใช้

ü

 

สำนักฯ ได้ดำเนินการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศด้านสิ่งแวดล้อมประจำปี 2566 โดยมีการจัดหา สื่ออิเล็กทรอนิกส์จากแหล่งต่างๆ มาให้บริการผ่านเว็บไซต์สำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียวของสำนักฯ  จำนวน 100 รายชื่อ https://arit.kru.ac.th/greenoffice/

3.2 การให้บริการห้องสมุดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3.2.1 ห้องสมุดส่งเสริมการให้บริการและการใช้ทรัพยากรด้านทรัพยากรและด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และเรื่องที่เกี่ยวข้อง

ü

 

  สำนักวิทยบริการฯ มีการส่งเสริมการให้บริการโดยนำหน้าปกหนังสือด้านสิ่งแวดล้อมและหน้าปก e-book

ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ https://arit.kru.ac.th/greenoffice/ เป็นต้น รวมถึงจัดทำรายงานสถิติการยืมทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบห้อง

สมุดอัตโนมัติ

3.2.2 ห้องสมุดนำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ü

 

จัดทำรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม หน้าจอการสืบค้นผ่านระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (http://lib.kru.ac.th/liberty/libraryHome.do) และฐานข้อมูล e-book (https://arit.kru.ac.th/greenoffice/)

3.2.3 ห้องสมุดจัดพื้นที่บริการสอดคล้องกับการเป็นห้องสมุดสีเขียว

 – สะอาด เป็นระเบียบ ปลอดภัย

 – ประหยัดพลังงานและทรัพยากร

 – พื้นที่บริการสอดแทรกความรู้และแนวคิดการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดทำพื้นที่ในการอ่านหนังสือจากวัสดุเหลือใช้ นอกจากนี้ยังได้มีการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ทั้งภายในและภายนอกอาคารเพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

(เพิ่มพื้นที่สีเขียว)

(วัสดุเหลือใช้)

หมวด 4 การส่งเสริมการเรียนรู้

4.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้รับบริการ บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

4.1.1 ห้องสมุดจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้กับกลุ่มเป้าหมาย

ü

 

สำนักวิทยบริการได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโดยจัดกิจกรรมภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้บ่ายวันพุธประกอบไปด้วยกิจกรรมการประหยัดพลังงานการใช้ไฟฟ้ากิจกรรมการประหยัดน้ำและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ากิจกรรมการคัดแยกขยะแล้วก็กิจกรรมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในการลดก๊าซเรือนกระจก

4.1.2 ห้องสมุดจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้กับกลุ่มเป้าหมายในเรื่องดังต่อไปนี้

   – การประหยัดและการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า

   – การประหยัดน้ำและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

   – การคัดแยกขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะ/วัสดุเหลือใช้

   – การจัดการของเสียและมลพิษ

   – ก๊าซเรือนกระจก

ü

 

สำนักวิทยบริการได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโดยจัดกิจกรรมภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้บ่ายวันพุธประกอบไปด้วยกิจกรรมการประหยัดพลังงานการใช้ไฟฟ้ากิจกรรมการประหยัดน้ำและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ากิจกรรมการคัดแยกขยะแล้วก็กิจกรรมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในการลดก๊าซเรือนกระจก

4.1.3 การเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ของกลุ่มเป้าหมายมีมากกว่าร้อยละ 80

ü

 

สำนักวิทยบริการฯจัดทำรายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมบ่ายวันพุธ โดยวัดความรู้ก่อนและหลังจากอบรม

4.1.4 ห้องสมุดมีการจัดทำใบประกาศหรือใบรับรองให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเงื่อนไขที่ห้องสมุดกำหนด

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดทำใบประกาศให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อรับรองความรู้ความสามารถจากการเข้าร่วมกิจกรรม และยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ผู้รับการอบรม

4.1.5 ห้องสมุดจัด Green Corner หรือพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของห้องสมุดสีเขียวและมีการปรับปรุงข้อมูลเป็นประจำทุกเดือนเป็นอย่างน้อย

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ได้จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์นโยบาย กิจกรรมต่างๆ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมและรายงานผลการแสดงการใช้พลังงานไฟฟ้า การประหยัดน้ำการประหยัดทรัพยากร

4.2 ประเมินผลการเรียนรู้

4.2.1 ห้องสมุดมีการประเมินผลการเรียนรู้/การวัดความรู้ครบทุกกิจกรรม

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการประเมินผลการเรียนรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมโดยการวัดความรู้

4.2.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมผ่านการประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคน

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการประเมินเพื่อวัดความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม

4.2.3 บุคลากรและผู้รับบริการ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องมีผลประเมินด้านพฤติกรรมในเชิงบวกหลังเข้าร่วมกิจกรรม

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีการประเมินพฤติกรรม ของบุคลากรและกลุ่มผู้รับบริการ หลังการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อติดตามพฤติกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

4.2.4 ผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานผลการจัดกิจรรมเสนอผู้บริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยมีการวิเคราะห์ปัญหาและผลประเมินการเรียนรู้ รวมทั้งจัดทำแผนพัฒนา/ปรับปรุงกิจกรรม

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ นำข้อเสนอแนะจากการจัดกิจกรรมมาวิเคราะห์หรือวางแผนในการดำเนินงานในปีถัดไปจากในรายงานประชุมสำนักหรือในการจัดทำแผนเพื่อเสนอผู้บริหาร

หมวด 5 เครือข่ายความร่วมมือ

5.1 หน่วยงานความร่วมมือ

5.1.1 ห้องสมุดมีความร่วมมือกับเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว ชมรมห้องสมุดสีเขียว หน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ได้จัดทำแผนสํานักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียวสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี พ.ศ. 2565 – 2569 (ฉบับปรับปรุง) และแผนสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว ประจำปี พ.ศ. 2566 ซึ่งมีแผนงานเกี่ยวกับความร่วมมือในยุทธศาสตร์ที่ 3  สร้างความร่วมมือในเครือข่ายห้องสมุดสีเขียว และพัฒนาความร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาความร่วมมือเพื่อสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสำนักงาน ดังนี้

    5.1 เครือข่ายความร่วมมือห้องสมุดสีเขียวและสำนักงานสีเขียว สำนักวิทยบริการฯ ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียว ดังนี้

     5.1.1  สำนักวิทยบริการฯ ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านสำนักงานสีเขียวและห้องสมุดสีเขียวระหว่างสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี กับ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2565 (5.1.1)

   5.1.2 สำนักวิทยบริการฯ ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างโรงเรียนในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี กับสำนักวิทยบริการฯ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566  

       นอกจากนี้สำนักฯ มีการส่งเสริมให้บุคลากรเข้าร่วมสัมมนาหรือเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมร่วมกับเครือข่ายกลุ่มต่าง ๆ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งในปี พ.ศ.2566 สำนักวิทยบริการฯ ได้ส่งบุคลากรเข้าร่วมกิจกรรม

5.1.2 ห้องสมุดมีความร่วมมือกับหน่วยงานด้านนโยบาย/การบริหาร หน่วยงานด้านกายภาพ ด้านการวิจัย และด้านการศึกษาในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ มีความร่วมมือกับหน่วยงานด้านนโยบาย/การบริหาร หน่วยงานด้านกายภาพ ด้านการวิจัย และด้านการศึกษาในการดำเนินงานห้องสมุดสีเขียว

5.2 กิจกรรมความร่วมมือ

5.2.1 ห้องสมุดเข้าร่วมกิจกรรม จัดกิจกรรมความร่วมมือด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมกับหน่วยงานความร่วมมือ

ü

 

   ในปีพ.ศ. 2566 สำนักวิทยบริการฯ ส่งเสริม/สนับสนุนให้บุคลากร จำนวน 23 คน เข้ารับการอบรมออนไลน์ในระบบการเรียนรู้ออนไลน์ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ทุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการจัดการพลังงาน ของเสีย  การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมซึ่งได้ดำเนินการฝึกอบรม จำนวน 9 เรื่อง ดังนี้

        1. หลักสูตร การจัดการมลพิษและของเสีย

        2. หลักสูตร การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ” แนวทางในการอนุรักษ์พลังงาน 3 อ”

        3. หลักสูตร กลไกสร้างความยั่งยืนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการ

        4. หลักสูตร แนวทางการดำเนินงานตามเกณฑ์สำนักงานสีเขียว (Green office )

        5. หลักสูตร การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนท่ามกลางวิกฤตสร้างจิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

        6. หลักสูตร ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก๊าซเรือนกระจกและการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

        7. หลักสูตร ก้าวใหม่ของมาตรฐานและเกณฑ์การประเมินห้องสมุดสีเขียว พ.ศ. 2566 

        8. หลักสูตร แยกให้ได้ ทิ้งให้ถูก : เรียนรู้การคัดแยกขยะผ่านบอร์ดเกมการศึกษา

        9. หลักสูตร เราจะทำอย่างไรในยุคโลกเดือด

   1. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดทำแผนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อขับเคลื่อนสู่มหาวิทยาลัยสีเขียว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เมื่อวันที่ 14-15 มีนาคม 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ณ โรงแรมเดสติเนชั่น รีสอร์ท หัวหิน ชะอำ บีช รีสอร์ท แอนด์ สปา ตำบลชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

    2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการดับเพลิงและอพยพหนีไฟ ประจำปีงบประมาณ 2566 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

5.2.2 ห้องสมุดมีการขยายผลการจัดกิจกรรมห้องสมุดสีเขียวให้กับหน่วยงานภายนอกทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 แห่ง

ü

 

สำนักวิทยบริการฯ ดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับโรงเรียนในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี  จำนวน 6 โรงเรียน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมประกอบด้วย ครูที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ และนักเรียนในแต่ละโรงเรียน กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ จำนวน 2 กิจกรรม ดังนี้

           1) กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและสิ่งแวดล้อม ได้แก่

               1.1 การบันทึกการอ่าน

               1.2 การจัดการขยะ พลังงานและสิ่งแวดล้อม

           2) การพัฒนาด้านการจัดการห้องสมุดและการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ

   กิจกรรมครั้งนี้เป็นการสร้างจิตสำนึก คัดแยกขยะต้นทาง อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ มีวัตถุประสงค์ คือ

           1. สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

           2. ส่งเสริมให้รักษาสิ่งแวดล้อม

           3. คัดแยกขยะถูกประเภท

หมวดที่ 6 การใช้ทรัพยากรและพลังงาน  
 6.1 การใช้น้ำ  

 6.1.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมีความเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบด้วย

  (1) การสร้างความตระหนักในการใช้น้ำ

  (2) การกำหนดเวลาการใช้น้ำ เช่น
เวลารดน้ำต้นไม้

  (3) การกำหนดรูปแบบการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่

  (4) การเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์ประหยัดน้ำ

มีมาตรการการประหยัดน้ำมีการกำหนดเป้าหมายการใช้น้ำในนโยบายมีป้ายประชาสัมพันธ์การรณรงค์การใช้น้ำมีการเปลี่ยนอุปกรณ์การใช้น้ำโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (ก็จะมีประกาศมาตรการนะคะการใช้น้ำมีป้ายประชาสัมพันธ์การรณรงค์การใช้น้ำมีภาพถ่ายก๊อกน้ำที่เป็นระบบเซ็นเซอร์มีภาพถ่ายน้ำแอร์ไปรดต้นไม้อ่ะข้างหลังที่มันจะแบบรวม )
 6.1.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย  จะทำตารางเปรียบเทียบการใช้น้ำจากบุคลากรผู้เข้าใช้บริการกับปริมาณการใช้น้ำต่อเดือนนะคะแล้วก็ย้อนหลัง3ปี
 6.1.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดน้ำในพื้นที่ทำงาน (ประเมินพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)  รายงานผลการใช้ปริมาณน้ำทั้งปีให้เป็นไปตามมาตรการที่เราประกาศไว้การลดปริมาณการใช้น้ำ ย้อนหลัง 3 ปี
   
 6.2 การใช้พลังงาน  

 6.2.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้ไฟฟ้าเหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบไปด้วย

 (1) การสร้างความตระหนักในการใช้ไฟฟ้า

  (2) การกำหนเวลาดในการใช้ไฟฟ้า
เช่น
เวลาการเปิดปิด
เป็นต้น

  (3) การใช้พลังงานทดแทน

  (4) การเปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า

 6.2.1 ก็จะเป็นรายงานผลการใช้ไฟเทียบกับจำนวนผู้เข้าใช้บริการต่อเดือนแล้วก็ตามมาตรการการลดการใช้ไฟตามประกาศของสำนักเราก็ย้อนหลังค่ะปีเหมือนกันเปรียบเทียบแล้วก็มีตารางเปรียบเทียบแล้วก็กราฟ
 6.2.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย  รายงานการใช้ไฟฟ้าต่อเดือนต่อผู้เข้าใช้บริการแล้วก็เปรียบเทียบกับเป้าหมายของเราที่เรากำหนดว่าในมาตรการว่าเราจะลดต่อปีเท่าไหร่เนี่ยค่ะลดลงเท่าไหร่มาตรการ
 6.2.3ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดไฟฟ้าในพื้นที่ทำงาน  6.2.3 ก็จะเป็นร้อยละของการปฏิบัติงานมาตรการประหยัดพลังงานในพื้นที่ก็เป็นตัวสรุปผลร้อยละทั้งปีแล้วก็เปรียบเทียบย้อนหลังใช่ค่ะ 3 ปี

 6.2.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางที่เหมาะสมกับสำนักงาน ดำเนินการดังนี้

  (1) การสื่อสารผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์

  (2) การวางแผนการเดินทาง

  (3) การซ่อมบำรุงดูแลยานพาหนะ

 (4) การใช้จักรยานหรือขนส่งสาธารณะมาทำงาน

 6.2.4 ก็จะเป็นป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์การประหยัดพลังงานกิจกรรมการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์การใช้กระดาษผ่านอิเล็กทรอนิกส์อย่างส่งจดหมายในส่วนของการวางแผนการเดินทางนะคะอันนี้ก็จะให้เป็นไปตามมาตรการประกาศของสำนักในการเดินทางไปราชการที่เดียวกันไปรถคันเดียวกันแล้วก็กำหนดของการขับรถกี่กิโลเมตรต่อชั่วโมงแล้วก็จะเป็นในลักษณะของการรายงานเดินทางใช่ไหมคะค่ะที่ที่มันเป็นแบบรายงานน้ำมันเชื้อเพลิงอ่ะค่ะของการไปราชการในแต่ละครั้ง

อันนี้น่าจะต้องเนื่องจากว่าสำนักเรามีจักรยานในการไปส่งเอกสารพื้นที่ไกลๆอ่ะค่ะภายในภายในมหาวิทยาลัยของเรา

 6.2.5 มีการจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย  6.2.5 การจัดทำข้อมูลการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงอันนี้เราจะมีการจัดเก็บสถิติการไปราชการของแต่ละปีในแต่ละเดือนต่อจำนวนบุคลากรของเราที่ไปราชการแล้วก็เทียบย้อนหลัง 3 ปีเหมือนกัน
   
 6.3 การใช้ทรัพยากรอื่นๆ  

 6.3.1 มาตรการหรือแนวทางการใช้กระดาษที่เหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบด้วย

   (1) การสร้างความตระหนักในการใช้กระดาษ

   (2) การกำหนดรูปแบบการใช้กระดาษ

   (3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

   (4) การนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่

 มีการจัดทำสรุปผลการใช้กระดาษของแต่ละเดือนแต่ละปีย้อนหลัง 3 ปีเหมือนกันรวมถึงการกำหนดกิจกรรมต่างๆที่เราเอาอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการบริหารจัดการภายในสำนักอย่างเช่นการจัดประชุมออนไลน์การจัดเอกสารส่งเอกสารผ่านจนจดหมายผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆอันนี้เราก็จะเอามาใช้เป็นรูปภาพประกอบได้ด้วยค่ะการรายงาน
     6.3.2 มีการจัดทำข้อมูลการใช้กระดาษต่อหน่วยเปรียบเทียบกับเป้าหมาย  6.3.2 ก็จะเป็นการจัดทำการใช้ปริมาณกระดาษเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่เราตั้งไว้ตามมาตรการค่ะแล้วก็ย้อนหลัง 3 ปีเหมือนกัน
     6.3.3 ร้อยละของการปฏิบัติตามมาตรการประหยัดกระดาษในพื้นที่ทำงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)  อันนี้ก็จะเป็นการคิดร้อยละของปริมาณการใช้กระดาษต่อปีต่อบุคลากรของเราแล้วก็เทียบคิดออกมาเป็นร้อยละตามมาตรการที่เราประกาศไว้อ่ะว่าเราเป็นไปตามนั้นไหมแล้วก็ร้อยละเท่าไหร่

     6.3.4 มาตรการหรือแนวทางการใช้หมึกพิมพ์
อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์เหมาะสมกับสำนักงานจะต้องประกอบด้วย

  (1) การสร้างความตระหนักในการใช้

  (2) การกำหนดรูปแบบการใช้

  (3) การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์

 ส่วนตัวนี้นะคะตัวนี้จะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการรณรงค์ให้มีการใช้ปริ้นเตอร์ร่วมกันวัสดุสำนักงานร่วมกันก็จะเป็นในลักษณะของภาพถ่ายปริ้นเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางนะคะแล้วก็อุปกรณ์สำนักงานที่เป็นศูนย์กลางที่เราจะใช้ร่วมกันได้นะคะแล้วก็รวมถึงกิจกรรม 5 สต่างๆที่เราทำ
 6.3.5 ร้อยละของการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดการใช้หมึกพิมพ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (ประเมินจากพฤติกรรมของบุคลากรในพื้นที่)  ก็จะทำรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการการประหยัดการใช้อุปกรณ์สำนักงานปริ้นเตอร์พวกอะไรอย่างนี้ค่ะ
   
    6.4 การประชุมและการจัดนิทรรศการ  
 6.4.1 ร้อยละของการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการส่งข้อมูลเพื่อเตรียมการประชุม ได้แก่ QR code, Email, Social Network, Internet เป็นต้น  ยกตัวอย่างของการจัดประชุมออนไลน์การส่งเอกสารการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆเนี้ยค่ะการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นฝ่ายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อลดการใช้กระดาษอ่ะค่ะ

6.4.2 การจัดการประชุมและนิทรรศการที่มีการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ทรัพยากรพลังงานและขอเสียที่เกิดขึ้นจะต้องดำเนินการดังนี้

  (1) การจัดเตรียมขนาดห้องประชุมเหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าประชุมหรือจัดนิทรรศการ

  (2) ห้องประชุมหรือพื้นที่จัดนิทรรศการไม่มีการตกแต่งด้วยวัสดุที่ย่อยสลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง

  (3) การกำหนดแนวทางเลือกสถานที่ภายนอกสำนักวานที่เป้ฯมิตรกับสิ่งแวดล้อม

  (4) การจัดเตรียมสื่อที่ใช้ในการประชุมโดยจะต้องลดการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์

  (5) การจัดเตรียมอาหาร และเครื่องดื่มเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ลักษณะของการการจัดประชุมโดยเขาเรียกกำหนดพื้นที่การใช้ห้องประชุมอ่ะค่ะว่าจำนวนบุคลากรเท่านี้ใช้ห้องประชุมขนาดนี้ขนาดนี้อะไรอย่างนี้ค่ะเพราะว่าตัวนี้เรามีมาตรการในการใช้ห้องประชุมของเราอยู่แล้วเราก็จะเอาหลักฐานตัวนั้นมาประกอบรวมถึงภาพถ่ายของการจัดกิจกรรมขอใช้พื้นที่ห้องประชุมของเรา ถึงการจัดเบรคต่างๆที่ใช้วัสดุทางธรรมชาติแล้วก็อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจะต้องไม่มีโฟมแล้วก็อุปกรณ์ที่เราใช้หมุนเวียนกลับมาใช้ได้ค่ะอาจารย์ในแต่ละครั้งที่เราจัดประชุม
   
 
หมวดที่ 7 การจัดการของเสีย
 7.1 การจัดการของเสีย

   7.1.1 มีการดำเนินงานตามแนวทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัดขยะอย่างเหมาะสมมีแนวทางการดำเนินงาน ดังนี้

  (1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักและจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

  (2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่างถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่มตรวจสอบ

  (3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลักวิชาการโดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ(1) อย่างเพียงพอ

  (4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ

  (5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย

  (6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัดขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการอย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ(กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการจัดการอย่างเหมาะสม)

  (7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับการอนุญาตอย่างถูกต้อง)
ก็ 7.1 นะคะก็จะเป็นในลักษณะของการจัดคัดแยกขยะนะคะก็จะมีการชั่งปริมาณขยะจากถังดักไขมันด้วยอ่ะแล้วเราก็เอาไปทิ้งข้างๆด้านข้างอาคารของเราอะไรอย่างเงี้ยค่ะแล้วก็มีการทำป้ายประชาสัมพันธ์บ่งชี้ถึงถังขยะในแต่ละประเภทมีจุดพักขยะของเราที่อยู่ด้านข้างอันนี้เดี๋ยวเราจะเขยิบออกจากจากที่อยู่ข้างตึกอ่ะค่ะออกไปตั้งไว้ด้านนอกอาคารเพราะมีหลังคาและ ขออนุญาตค่ะปีย้อนหลัง3ปีเหมือนกัน (แล้วจะประกอบด้วยภาพถ่ายของการชั่งขยะแต่ละแต่ละครั้งก็จะมีทั้งขยะขยะทั่วไปแล้วก็ขยะเปียกอะไรอย่างนี้ค่ะเช่นขวดพลาสติกกระดาษแล้วก็ขยะที่ตักออกมาจากถังเครื่องดับไขมัน )
7.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์หรือนำกลับมาใช้ใหม่ ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง โครงการกระดาษ 2 หน้านะคะแล้วก็ และก็โครงการการนำกระดาษไปแลกภายใต้โครงการ SCG แล้วกัน
7.2 การจัดการน้ำเสีย
7.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงานและคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ในมาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 7.2.1 เลยนะคะก็จะเป็นในลักษณะของการจัดการน้ำเสียของของของอาคารเรานะคะอันนี้ก็จะต้องทำการขอ (ขอข้อมูลเกี่ยวกับค่า Maintenance ในการบำรุงรักษาเครื่องบำบัดน้ำเสียของสำนักวิทยบริการที่สำนักงานอธิการบดี )
7.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย

ตัวเดียวกับ 7.2.1 ค่ะ นี้จะเป็นในลักษณะของเหมือนผลน่ะด้วยอะไรอย่างนี้ถ้าเราได้ผลนะเพราะว่าเมื่อปีหนูน่ะที่เราตรวจอ่ะเขาจะมีวัดปริมาณน้ำที่ที่มันปล่อยออกมาว่ามันมีค่าเป็นเท่าไหร่ถ้าเราได้นะถ้าไม่ได้ก็ไม่เป็นไร

     ยังมีถังบำบัดน้ำเสียภายในอาคารเราด้วยนะอันนี้ก็จะเป็นในลักษณะของการดูแลบำรุงรักษาถัง (ถังดักไขมันทำการตัดเศษขยะ 3 วันตัดครั้งต่อ 1 อาทิตย์แล้วก็ทุกเดือนจะต้องมีการตารางตรวจเช็คการอุปกรณ์ถังดักไขมันให้มีสภาพการใช้งานได้อย่างปกติทุกเดือน)
หมวดที่ 8 สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย
8.1 อากาศในสำนักงาน
8.1.1 การควบคุมมลพิษทางอากาศในสำนักงาน

สำนักวิทยบริการฯ ได้จัดทำแผนและกำหนดผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องปริ้นเตอร์ และพรมปูพื้น  เพื่อการควบคุม ดูแลป้องกันมลพิษทางอากาศของสำนักงาน โดยผู้รับผิดชอบได้ปฏิบัติตามแผนการดูแลรักษา เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่ายเอกสาร  เครื่องปริ้นเตอร์ พรมปูพื้น และผ้าม่าน

        มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจากการปฏิบัติในข้อโดยจัดทำประกาศมาตรการและแนวปฏิบัติด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ ……

        สำนักวิทยบริการฯ จัดวางตำแหน่งเครื่องถ่ายเอกสาร/เครื่องปริ้นเตอร์ ให้มีระยะห่างจากผู้ปฏิบัติงานประมาณ 5 เมตร รูปเครื่องถ่ายเอกสารจากมุมโต๊ะปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่) นอกจากนั้นยังมีการควบคุมมลพิษทางอากาศบริเวณรอบสำนักวิทยบริการฯ โดยมีการติดตั้งป้ายด้านข้างสำนักวิทยบริการฯ บริเวณด้านข้างตึกเพื่อป้องกันไอเสียจากรถยนต์

      มีการป้องกันและกำจัดแมลงที่จะสร้างมลพิษ อากาศภายในสำนักงาน อีกทั้งยังมีการส่งเสริมให้บุคลากรตระหนักและทราบถึงปัญหามลพิษทางอากาศที่อาจเกิดจากกิจกรรมต่างๆ เพื่อเตรียมความพร้อมป้องกันและระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้น

8.1.2 มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมือการกำหนดพื้นที่ที่เหมาะสมและปฏิบัติตามที่กำหนด

 สำนักวิทยบริการฯ มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ทั้งภายในและภายนอกอาคาร และมีการติดตั้งป้ายห้ามสูบบุหรี่หรือสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ทั้งภายในและภายนอกจำนวน 4 จุด ดังนี้

1. ห้องน้ำชาย ห้องน้ำหญิงภายในอาคาร

2. บริเวณศาลาสระน้ำด้านข้างอาคารสำนักวิทยบริการฯ

3. บริเวณด้านหน้าสำนักวิทยบริการฯ

8.1.3 การจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดการมลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน  โดยจัดทำมาตรการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ผู้รับเหมา ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยด้านมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละออง เสียง และสุขภาพ ลงวันที่ ……. ซึ่งในปี .. 2566 สำนักวิทยบริการฯ ไม่มีการก่อสร้างปรับปรุงอาคาร หรืออื่น ในสำนักงานที่ส่งผลกระทบต่อพนักงาน
8.2 แสงในสำนักงาน
8.2.1 มีการตรวจวัดความเข้มของแสดงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัดความเข้มของแสงสว่างทีได้มาตรฐาน)และดำเนินการแก้ไขตามมาตรฐานกำหนด

สำนักวิทยบริการฯ มีการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง โดยมีมาตราการควบคุมแสงภายในอาคาร ตามมาตราการและแนวปฏิบัติด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ข้อที่ 6 มาตราการด้านการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานทางการยภาพ ข้อย่อยที่ 6.3 มาตรการด้านการควบคุมแสงภายในอาคาร โดยมีมาตราการในการวัดค่าแสงดังนี้

         1. ใช้อุปกรณ์ส่องสว่างที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

         2. ตรวจวัดความเข้มข้นของแสงทุกปี

         3. การตรวจวัดแสงเป็นไปตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด

         4.ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติ

         5. ทำความสะอาดหลอดไฟปีละ 2 ครั้ง

      ทั้งนี้สำนักวิทยบริการฯ ได้ดำเนินการตรวจวัดความเข้มของแสงสว่าง โดยมีพื้นที่อาคารที่ทำการวัดความเข้มของแสงสว่างอาคารบรรณราชนครินทร์ 6 ชั้น   ซึ่งประกอบด้วยจุดที่ทำการวัดด้วยวิธีการตรวจวัดแบบจุด (Spot Measurement ) ซึ่งมีการกำหนดจุดในการวัดต่าแสงรวมทั้งหมด จำนวน ….. จุด ซึ่งได้ดำเนินการตรวจวัดค่าแสงแล้วเสร็จไปเมื่อวันที่……….  เวลา ……….ด้วยเครื่องมือ เครื่องวัดแสงสว่าง (Lux meter) ยี่ห้อ UNI-T รุ่น UT383 ซึ่งเป็นเครื่องมือใหม่

        จากการตรวจวัดระดับความเข้มของแสงบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ต่าง ของสำนักวิทยบริการฯ โดยนำผลจากการ ตรวจวัดมาเปรียบเทียบค่ามาตรฐานตามลักษณะงานที่กำหนดไว้ในประกาศกรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง .. 2560  ผลการตรวจวัด พบว่า ระดับ ความเข้มของแสงสว่างแบบจุดทำงานและแบบจุดพื้นที่ จำนวน ……. จุด ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด จำนวน …… จุด คิดเป็นร้อยละ …… ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด จำนวน …. จุด คิดเป็นร้อยละ ……. สำนักวิทยบริการฯ จึงได้หาแนวทางการแก้ไขปัญหา แสงสว่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด ดังนี้

       1. ติดตั้งดวงไฟบริเวณที่ปฏิบัติงานเพิ่มเติมหรือเพิ่มเฉพาะจุดที่มีการทำงานเป็นพิเศษ

       2. จัดบริเวณพื้นที่การทำงานให้เป็นระเบียบเรียบร้อย โดยไม่นำสิ่งของต่าง วางกีดขวางทางเข้าของแสงสว่างหรือตั้งบังทางที่แสงสว่างส่องผ่านมายังบริเวณที่ปฏิบัติงาน

      3. ตรวจสอบและบำรุงรักษาหลอดไฟเป็นประจำ รวมทั้งดำเนินการเปลี่ยนหลอดไฟ เมื่อครบอายุการใช้งาน หรือเมื่อเกิดการชำรุด

      4. ควรทำความสะอาดหลอดไฟเป็นประจำอย่างน้อยทุก 3 เดือน

         สำนักวิทยบริการฯ ได้ให้ .เอกบุตร…….. เป็นผู้ตรวจวัดความเข้มของแสงเมื่อวันที่……….

8.3 เสียง
8.3.1 การควบคุมมลพิษทางเสียงภายในอาคารสำนักงาน สำนักวิทยบริการฯ มีการควบคุมมลพิษทางเสียงในอาคาร ตามกฎหมายา่ธารณสุข (หมวด 5 เหตุรำคาญ.. 2535  และกำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายในสำนักงาน ตามประกาศของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ลงนามวันที่25 มกราคม 2566 ข้อ 6.4 หน้า 4 คู่มือแผนปฏิบัติการสภาพแวดล้อมเรื่องเสียง    ภาพถ่ายการงดใช้เสียง       ทั้งนี้สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการปฏิบัติตามมาตรการการควบคุมมลพิษทางเสียงในสำนักงาน ได้แก่   ภาพประกอบให้แต่ละฝ่ายงานใช้เครื่องพิมพ์ถ่ายเอกสาร  ภาพประกอบงานปรับเสียงโทรศัพท์ ภาพประกอบกรณีเปิดลำโพงในการใช้โทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ ให้ใช้หูฟังแทน
8.3.2 การจัดการเสียงดังจากการก่อสร้างปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อพนักงาน

สำนักวิทยบริการฯ มีการควบคุมมลพิษทางเสียงในอาคาร ตามกฎหมายา่ธารณสุข (หมวด 5 เหตุรำคาญ.. 2535  ปรับปรุงอาคารหรืออื่น ในสำนักงานที่ส่งผลกระทบต่อบุคลากรและผู้ใช้บริการ นอกจากนี้ยังได้กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการเสียงดังที่มาจากภายนอกสำนักงาน ตามประกาศของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ลงนามวันที่ 25 มกราคม 2566 ข้อ 6.4 หน้า 4

         ปี . 2566 สำนักวิทยบริการฯ ไม่มีการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคารหรืออื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อบุคลากรและผู้ใช้บริการ

8.4 ความน่าอยู่
 8.4.1 มีการวางแผนจัดการความน่าอยู่ของสำนักงาน  สำนักวิทยบริการฯ มีแผนผังทั้งภายในอาคารและนอกอาคารโดยกำหนดพื้นพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจนได้แก่

     1. พื้นที่สีเขียว

     2. พื้นที่ปฏิบัติงานและบริการส่วนรวม

     3. พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ

     โดยกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและดูแลพื้นที่ทั้งภายในและภายนอกอาคารตามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาสำนักงานสีเขียวที่ ……. ลงวันที่…………. และกำหนดตารางการปฏิบัติงานของแม่บ้านที่รับผิดชอบแต่ละพื้นที่ใช้งานอย่างชัดเจน 

     มีการกำหนดเวลาในการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้ง 3 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ และพื้นที่ปฏิบัติงานส่วนรวม ซึ่งจะมีการตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานบริการทุกวันเพื่อประเมินความสะอาด และตรวจสอบอุปกรณ์ที่ชำรุด ทั้งนี้ได้มีแผนการดำเนินงาน 5 และมีการประเมิน 5 เดือนละ 2 ครั้ง  โดยพบว่ามีผลการประเมินคะแนน 5 ตั้งแต่เดือน มกราคมมิถุนายน 2566 เฉลี่ยร้อยละ ……. ซึ่งผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 80  คือ มีการจัดกิจกรรม 5 เมื่อวันที่ ……..และกิจกรรม Big Cleaning Day เมื่อวันที่…….

            มีการกำหนดแผนงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวทั้งหมด 6 จุด ดังนี้

            1. พื้นที่สีเขียว 3 จุด

            2. พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ 2 จุด

            3. พื้นที่ปฏิบัติงานและบริการส่วนรวม 1 จุด และคงรักษาไว้ของสำนักงาน รวมไปถึงมีการปฏิบัติจริงตามแผนงาน

8.4.2 ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด ประเมินจากพื้นที่ปฏิบัติงานจริง
8.4.3 ร้อยละการดูแลบำรุงรักษพื้นที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ทำงานเป็นต้น ประเมินจากพื้นที่ปฏิบัติงานจริง
8.4.4 มีการควบคุมสัตว์พาหนะนำโรคและดำเนินการได้ตามที่กำหนด
 8.5 การเตรียมความพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน
 8.5.1 การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด  สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดแผนฝึกอบรมประจำปี 2566 เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับระงับเหตุฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นดังนี้

          1. การดับเพลิงเบื้องต้น

          2. การซ้อมอพยพหนีไฟ

          โดยได้มีการจัดอบรมการดับเพลิงเบื้องต้นและการซ้อมอพยพหนีไฟในวันที่ …… กุมภาพันธ์ 2566 มีจำนวนบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ เข้าร่วมอบรมจำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของจำนวนบุคลากร และบุคลากรของสำนักวิทยบริการฯ ได้มีการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟจำนวน 1 ครั้ง

       สำนักวิทยบริการฯ ได้ดำเนินการจัดอบรมการดับเพลิงเบื้องต้นและการซ้อมอพยพหนีไฟให้กับบุคลากรตามแผนที่กำหนด ซึ่งการจัดอบรมดังกล่าวมีการวัดผลการอบรมพบว่าบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจก่อนการอบรมคิดเป็นร้อยละ…… และหลังการอบรมมีความรู้ความเข้าใจคิดเป็นร้อยละ…….

        สำนักวิทยบริการฯ ได้กำหนดจุดรวมพล 1 จุดไว้บริเวณด้านหน้าอาคารสำนักวิทยบริการฯ โดยมีพื้นที่สามารถรองรับมีป้ายแสดงอย่างชัดเจน

        สำนักวิทยบริการฯ ได้กำหนดแผนผังจุดติดตั้งถังดับเพลิง เส้นทางหนีไฟและจัดทำธงนำทางติดแจ้งไว้บริเวณหน้าลิฟท์และช่องทางเดินอื่นๆ ภายในอาคารเพื่อสื่อสารให้ผู้มาใช้บริการทราบและกำหนดทางออกฉุกเฉินพร้อมจัดทำป้ายสัญลักษณ์แสดงเส้นทางออกฉุกเฉินให้เห็นชัดเจน

8.5.2 มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและเหมาสม และร้อยละของพนักงานที่เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มอย่างน้อย 4 คน)  สำนักวิทยบริการฯได้จัดทำแผนระงับเหตุฉุกเฉินเพื่อป้องกันและเตรียมพร้อมต่อการเกิดเหตุฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้
 8.5.3 ความเพียงพอและการพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของพนักงานทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ (สุ่มอย่างน้อย 4 คน)  สำนักวิทยบริการฯ มีอุปกรณ์สำหรับป้องกันเหตุฉุกเฉินด้านอัคคีภัยได้แก่

          1. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ติดตั้งภายในอาคารบรรณราชนครินทร์ จำนวน 6 ถัง

          2. สัญญาณนกหวีดแจ้งเหตุฉุกเฉิน จำนวน  1 ตัว

        

          สำนักวิทยบริการฯ ได้มีการตรวจเช็คอุปกรณ์เพื่อเตรียมความพร้อมทุกเดือน  ลงในแบบฟอร์มบันทึกการตรวจอุปกรณ์ด้านอัคคีภัยโดยมอบหมายให้นายนภัทร ยิ่งมี มีหน้าที่ตรวจสอบอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งาน ตามคำสั่งที่…………. ลงวันที่ ………..
หมวดที่ 9 การจัดซื้อและจัดจ้าง
9.1 การจัดซื้อสินค้า
9.1.1 การจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

สำนักวิทยบริการฯ มีการกำหนดให้ นางสาวจริญญา เสนาบุตร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ระดับชำนาญการ เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดซื้อจัดจ้าง โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดซื้อจ้างสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามคำสั่งสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ……. เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสำนักงานสีเขียว ประจำปี 2566 สั่ง วันที่ ……..  9.1.1.1) นอกจากนี้สำนักวิทยบริการฯ ได้จัดทำประกาศสำนักวิทยบริการฯ เรื่องมาตรการและแนวปฏิบัติด้านการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม (9.1.1.2 หน้า….)  และมาตรการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า (9.1.1.3)

           การจัดซื้อสินค้าจะศึกษาเกี่ยวกับฉลากที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือศึกษาจากฐานข้อมูลที่เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม (9.1.1.4 – 9.1.1.5) โดยจะดำเนินการจัดทำบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่สำนักวิทยบริการฯ จัดซื้อไว้จริง รายละเอียดจะประกอบด้วยรายการสินค้า ยี่ห้อ ฉลากสิ่งแวดล้อม วันหมดอายุ และวันที่ทบทวน เป็นต้น (9.1.1.6)

          ในปีงบประมาณ .. 2566 สำนักวิทยบริการฯ ดำเนินการจัดซื้อสิน ค้าทั้งหมด …… ชิ้น มีรายการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจำนวน …… ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ….. มีงบประมาณในการจัดหาเป็นเงิน …….. บาท จัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นเงิน ………. บาท คิดเป็นร้อยละ……. (9.1.1.7)

          ทั้งนี้ ในการจัดซื้อสินค้าเพื่อให้บริการภายในสำนักฯ จะดำเนินการทำหนังสือราชการไปยังร้านค้า/ผู้ขาย เพื่อขอความร่วมมือจัดหาสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้กับสำนักวิทยบริการ (9.1.1.8)
    9.1.2 ร้อยละของการจัดซื้อสินค้าประเภทวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 สำนักวิทยบริการฯ จะดำเนินการศึกษาเกี่ยวกับฉลากสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมหรือศึกษาจากฐานข้อมูลที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และจะดำเนินการจัดทำบัญชีรายชื่อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่จัดซื้อไว้ โดยจะประกอบด้วยรายการสินค้า ยี่ห้อ ฉลากสิ่งแวดล้อม วันหมดอายุ และวันที่ทบทวน เป็นต้น (9.1.2.1) ทั้งนี้การจัดซื้อสินค้าประเภทวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีการเปรียบเทียบการจัดซื้อสินค้าตั้งแต่ปี .. 2564 -2566 ผลการดำเนินงานดังนี้ (9.1.2.2)

            ปี 2564 ซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน …… ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ….. บรรลุเป้าหมาย

            ปี 2565 ซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน …… ชิ้น คิดเป็นร้อยละ …… ไม่บรรลุเป้าหมาย

            ปี 2566 ซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน …… ชิ้น คิดเป็นร้อยละ ….. ไม่บรรลุเป้าหมาย

            ปี 2567 ซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จำนวน …… ชิ้น คิดเป็นร้อยละ …….. บรรลุเป้าหมาย

9.1.3 ร้อยละของปริมาณและประเภทของวัสดุอุปกรณ์ในสำนักงานที่เป็นมิตรกับิส่งแวดล้อม สำนักวิทยบริการฯ มีการคำนวณร้อยละของปริมาณสินค้าที่ได้ดำเนินการจัดซื้อมาใช้จริงในสำนักงาน เช่น สินค้าที่ได้รับตะกร้าเขียว ฉลากเขียวฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 เป็นต้น ทั้งนี้ในปี 2566 มีการจัดซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมคิดเป็นร้อยละ …… มูลค่าสินค้าที่จัดซื้อคิดเป็นร้อยละ …….

9.2 การจัดจ้าง
9.2.1 ร้อยละของการจัดจ้างหน่วยงานหรือบุคคลที่มีการดำเนินงานทีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม   

สำนักวิทยบริการฯ มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการใช้พื้นที่ของห้องสมุดเป็นสถานประกอบการ เพื่อให้มีการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (9.2.1.1) และในกรณีที่จัดจ้างหน่วยงานที่ไม่มีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมรับรอง จะดำเนินการประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้างเบื้องต้น เพื่อให้มีการปฏิบัติงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (9.2.1.2)

           นอกจากนี้จะมีการจัดทำสัญญาหรือข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมเมื่อเข้ามาปฏิบัติงานภายในสำนักวิทยบริการฯ (9.2.1.3) และเพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว จะมีการอธิบายทำความเข้าใจให้กับหน่วยงาน/ผู้รับจ้างได้ปฏิบัติตามข้อตกลงของสำนักฯ เพื่อให้ใช้วัสดุอุปกรณ์/สินค้า ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (9.2.1.4)

            ภายหลังจากสำนักวิทยบริการฯ ได้สร้างความเข้าใจ แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน/หรือบุคคลสามารถอธิบาย แนวทางในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของตนเองได้

 9.2.2 ร้อยละของการตรวจสอบด้านการดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ปฏิบัติงานของหน่วยงานหรือบุคคลที่เข้ามาดำเนินการ เช่น ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างช่วงแม่บ้าน รปภ. พนักงานส่งเอกสาร เป็นต้น สำนักวิทยบริการฯ ดำเนินการประเมินประสิทธิภาพของผู้รับจ้างที่เข้ามาดำเนินการภายใน สำนักฯ เพื่อตรวจสอบด้านการดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่เข้ามาปฏิบัติงานให้มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (9.2.2)
9.2.3 ร้อยละของการเลือกใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (นอกสำนักงาน) ได้แก่ โรงแรม สถานที่จัดงาน หรืออื่นๆ ที่ได้มีการขึ้นทะเบียนการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สำนักวิทยบริการฯ ได้จัดทำแนวปฏิบัติการใช้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กรณีไปใช้บริการนอกสำนักงาน (9.2.3.1 -9.2.3.3) และแนวปฏิบัติที่หน่วยงานอื่นๆ มาใช้บริการของสำนักฯ เพื่อขอความร่วมมือให้ใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คำนึงถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน ลดการก่อให้เกิดมลพิษ  (9.2.3.4 – 9.2.3.5) ทั้งนี้ในปี .. 2566